ป้ายกำกับ

วันพุธที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2563

Skeletal radiography

 Radiographic position

    Skull radiography: 

        PA view

        AP view

        Lateral view

        AP axial view (Towne view)

        PA axial view (Caldwell view)

        Occipitomental view (Waters view)

        Acanthioparietal view (Reverse Waters view)

        Submentovertex view 

Spine radiography

Musculoskeletal Radiograph: Approach

Trauma: Fractures

 Skull fractures: Link Skull fractures

     Facial fractures: Link Facial fractures

 Cervical spine fracture and dislocation: Cervical fracture

 Thoracic spine fractures: 

 Thoracolumbar spine fractures

        Thoracolumbar injury classification and severity score (TLICS)

 Lumbar spine fractures

 Extremities fractures:

        Upper extremity fracture  

        Lower extremity fracture

 Pathologic fractures

Bone Lesions

    Differential diagnosis

            Solitary well-defined osteolytic lesion (differential)

            Solitary ill-defined osteolytic lesion (differential)

            Osteolytic lesions with septation and trabeculation (differential)

  

     Bone tumor (approach):

            Bone tumors in alphabetical order

            Osteolytic ill-defined

            Osteolytic well-defined

            Osteosclerosis lesions: Sclerotic tumors

Joint diseases: 

            Diseases of the Joints

            Common joint disease (Hand on)





วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2563

แปลผลภาพถ่ายรังสีช่องท้อง (Approach to abdominal radiograph)

 แปลผลภาพถ่ายรังสีช่องท้อง (Approach to abdominal radiograph)

LINK Abdominal X-ray- an approach

LINK abdominal x-ray interpretation 

Although abdominal radiography has lower sensitivity and specificity than a CT of the abdomen, it still serves a role as an adjunct or optional test. Current uses for abdominal radiography include:

  • a preliminary evaluation of bowel gas in an emergent setting
    • a negative study in a low pretest probability patient may obviate the need for a CT study and therefore lower radiation dose
  • evaluation of radiopaque tubes and lines
  • evaluation for radiopaque foreign bodies
  • evaluation for postprocedural intraperitoneal/retroperitoneal free gas
  • monitoring the amount of bowel gas in postoperative ileus
  • monitoring the passage of contrast through the bowel
  • colonic transit studies
  • monitoring renal calculi

basic

    Anatomical positions of organs

    Appearance of structure

    Density of structure on X-ray

    1. Gas

    2. Fat

    3. Fluid & Soft tissue

    4. Bones and calcification

    5. Metallic densities

Gas:

    Abnormal free gas (Pneumoperitoneum): Falciform ligament sign, Rigler sign (Double bowel walls sign, Football sign

    Pneumoretroperitoneum

    Abnormal gas in abscess:

    Abnormally located bowel:  Chilaiditi syndrome (bowel interposed between liver and hemidiaphragm), Inguinal hernia

    Intramural bowel gas (Pneumatosis intestinalis)

    Pneumobilia

    Portal venous gas

    Emphysematous cholecystitis

    Emphysematous cystitis

Bowel obstruction:

    Small bowel obstruction

    Large bowel obstruction

Fluid

    Ascites


Abnormal calcifications: Link: intraabdominal calcification





    

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

กล้ามเนื้อต่างๆและท่ายืดกล้ามเนื้อ

การตรวจร่างกาย หัวไหล Shoulder examination

กล้ามเนื้อหลังส่วนคอ Links back muscles of neck
Muscle Stretching 
กล้ามเนื้อหลังส่วนเอว  Link 


กล้ามเนื้อแนวกระดูกสันหลัง (Erector spinae)
ประกอบด้วย กล้ามเนื้อ 3 กลุ่ม ได้แก่
1. Spinalis group
2. Longissimus group
เรียกชื่อตามตำแหน่งที่เกาะซี่โครง
Erector spinae stretching  ดูลิงค์

Quadratus lumborum ดูลิงค์ Quadratus lumborum stretching
Serratus posterior inferior stretching 1 and stretching 2 and stretching 3

กล้ามเนื้อไหล่
กล้ามเนื้ออก

กล้ามเนื้อสะโพก





วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2563

Local steroid injection

การฉีดสเตอรอยด์เข้า เนื้อเยื่อ แก้ความปวดของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น (Local steroid injection)

ข้อบ่งชี้

  • Synovitis
  • Osteoarthritis
  • Bursitis
  • Gouty arthritis
  • Post traumatic osteoarthritis (Frozen shoulder syndrome)
  • Tendinitis
  • Rheumatoid arthritis
  • Muscle trigger points
  • Carpal tunnel and other entrapment syndrome
  • Fasciitis
  • Ganglion cysts
  • Neuromas
ข้อห้ามฉีด

  • การติดเชื้อบริเวณที่จะฉีด
  • Charcot joint
  • ผู้ป่วยใช้ยากดภูมิต้านทาน
  •  Hypothyroidism
  • ภาวะเลือดออกหยุดยาก
  • เบาหวานที่ควบคุมไม่ดี
  • ข้อเทียม
  • Patella and Achilles tendinopathies
การเตรียมอุปกรณ์

  • 25G needle ยาว 1.5 นิ้ว
  • Syringe 5 ml
  • Lidocaine 1-2 %
  • Kenacort
  • สำลีแอลกอฮอล์
  • พลาสเตอร์ปิดแผล
การฉีด

  • ทำความสะอาดผิวจุดที่จะฉีด
  • อาจใช้อัลตร้าซาวด์เริ่มด้วย
  • ฉีดยาชา
  • ฉีด steroid
  • กดป้องกันเลือดออก
  • ปิดพลาสเตอร์



Trigger point injection

Trigger point injection: คือการรักษา office syndrome หรือ myofascial pain syndrome ที่มี trigger point ที่เราคลำได้ชัดเจน

(เจ้าหน้าที่สามารถอ่านรายละเอียดเรื่อง myofascial pain syndrome ได้ตามลิงค์นี้ myofascial pain syndrome

Trigger point injection

การรักษาได้ผลดีเป็นที่ยอมรับกันกว้างขวางในวงการแพทย์ ว่าสามารถสลายจุดก่อกำเนิดความปวดใน office syndrome ได้เร็วมาก

กระทำโดยแพทย์ที่ฝึกฝนมาดีเท่านั้น

ข้อควรระวังในการทำ คือ

  • โรคเลือดออกง่าย หรือรับประทานยาละลายลิ่มเลือด
  • บริเวณที่จะฉีดยามีแผลติดเชื้อ
  • ผู้ป่วยแพ้ยาชาหรือสเตอรอยด์
  • ผู้ที่กลัวเข็มฉีดยา
การเตรียมอุปกรณ์

  • ถุงมือ (ไม่จำเป็นต้องsterile)
  • สำลีแอลกอฮอล สำหรับทำความสะอาดผิว
  • Syringe ขนาด 5 ml
  • 25G needle ยาวตามความลึกของกล้ามเนื้อที่ฉีด
  • Lidocaine without adrenaline 
  • Kenacort 
  • Plaster ปิดแผลรูเข็ม
การฉีด

  • แพทย์สั่งผสมยาตามสั่ง
  • ทำความสะอาดผิว
  • ฉีดยาเข้า trigger point
  • กดป้องกันเลือดออก
  • ให้ผู้ป่วย active exercise
  • สั่งยาแก้ปวด 5 วัน
  • นัดติดตามอาการ 1 สัปดาห์






วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2563

spider vein: Sclerotherapy

Spider veins: หรือ telangiectasia คือเส้นเลือดฝอยผิวหนังที่เห็นเด่นชัดบนผิวหนัง พบมากที่ขา บางครั้งพบที่ใบหน้า

สาเหตุ: เกิดจากลิ้นหลอดเลือดดำที่ใหญ่กว่าเสื่อมทำให้เลือดไหลกลับมากองที่หลอดเลือดฝอยมากจนหลอดเลือดดำฝอยขยายตัว เห็นเด่นชัดขึ้น ทำให้ผู้ป่วยกังวลเรื่องความสวยงามของผิว

การรักษาด้วยวิธี Sclerotherapy คือการฉีดยาเพื่อทำลายผนังหลอดเลือดฝอยเหล่านี้ เพื่อให้หลอดเลือดเหล่านี้ค่อยๆสลายๆไป

การเตรียมตัว ไม่มีการเตรียมตัวพิเศษ

เตรียมอุปกรณ์

  • ยา Aesthoxyskerol 1% 
  • เข็มฉีดยา 18G, 30G
  • สำลีแอลกอฮอล์
  • น้ำเกลือนอร์มอล 
  • Syringe 5ml, 1ml
  • แว่นขยาย
  • ยาทาฆ่าเชื้อที่ผิวหนัง Clinda M
  • ถุงน่องรัด Duomed แรงรัด 30-40 mmHg


วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2563

platelet rich plasma: Skin

จุดประสงค์ การฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้น (Platelet rich plasma) มีประโยชน์ในการปลูกผม, ลดรอยหมองคล้ำใต้ตา, ทำให้ร่องผิวหนังตื้นขึ้น คืนความอ่อนเยาว์ให้ผิวหน้า

ข้อบ่งชี้: ปลูกผม, ลดรอยคล้ำใต้ผิวหนัง, ช่วยให้หลุมร่องลึกตื้นขึ้น

การเตรียมตัวผู้ป่วย:

  • ล้างเครื่องสำอางออกให้หมด

อุปกรณ์ที่ต้องใช้

  • สำลีแอลกอฮอล์
  • tourniquet รัดแขน
  • เข็มเจาะเลือดเบอร์ 18 หรือ 20
  • Syringe ขนาด 10 mlหรือ 20 ml
  • หลอดเก็บเลือด ACD-A ขนาด 8.5 ml หรือ 10 ml แล้วแต่จะหาได้ 
  • หลุมที่วางหลอด
  • เครื่องปั่นหมุนเหวี่ยง (centrifuge machine)
  • หลอดเก็บเลือด sterile ขนาด 6.5 ml
  • เข็มยาว spinal needle 22G หรือ เข็มอะไรก็ได้ที่ยาวกว่า 5 ซม.
  • เข็มฉีดยาขนาด 30G ยาว 0.5 นิ้ว หรือ 32G ยาว 0.4 cm
  • Syringe ขนาด 1 ml 
  • ยาชา Lidocaine ชนิดทา
  • cool pack หรือถุงน้ำแข็ง

การเจาะเลือด:
  • เจาะเลือดใส่หลอด ACD-A ขนาด 10 ml 2 หลอด หรือขนาด 8.5 ml  4 หลอด เขย่าน้ำยาให้เข้ากับเลือด วางพักบนถาดตั้งหลอด

การปั่นเลือด

  1. กรณีหลอด ACD-A ที่ไม่มีเจลกั้น ให้ปั่นรอบแรกด้วยความเร็ว 3200 รอบต่อนาที นาน 15 นาที ก็เสร็จ
  2. กรณีหลอด ACD-A ที่มีเจลกั้น ให้ปั่นรอบแรกด้วยความเร็ว 3200 รอบต่อนาที เสร็จแล้ว  เทน้ำเลือดสีเหลืองจากหลอด ACD-A ลงในหลอดเก็บเลือดขนาด 6.5ml ทั้งสองหรือสี่หลอด นำไปปั่นที่ความเร็ว 3200 รอบต่อนาที เป็นเวลา 5 นาที
การเก็บเกล็ดเลือด:
  • ใช้เข็มยาวดูดชั้นเกล็ดเลือดเข้มข้นออกมา
การฉีดเกล็ดเลือด:
  • ทายาชาก่อนจะฉีดครึ่งชั่วโมง
  • ทำความสะอาดผิว
  • ฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้นเข้าใต้ผิวหนัง
  • ประคบเย็น

platelet rich plasma: knee

จุดประสงค์ การฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้น (Platelet rich plasma)เข้าในข้อเข่า คือทำให้อาการปวดข้อเข่าลดลง และการใช้งานของเข่า เช่น เดิน นั่งพับเข่า ได้ดีขึ้น

ข้อบ่งชี้: ข้อเข่าเสื่อมที่ยังไม่ถึงขั้นต้องผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

การเตรียมตัวผู้ป่วย:
  • ถามการกินยาละลายลิ่มเลือดของผู้ป่วยด้วย เช่น Warfarin, clopidogrel เพราะหากรับประทานอยู่ แพทย์อาจจะต้องเตรียมการหยุดยาก่อนมารักษา

อุปกรณ์ที่ต้องใช้
  • สำลีแอลกอฮอล์
  • tourniquet รัดแขน
  • เข็มเจาะเลือดเบอร์ 18 หรือ 20
  • Syringe ขนาด 50 mlหรือ 20 ml
  • หลอดเก็บเลือด ACD-A ขนาด 8.5 ml หรือ 10 ml แล้วแต่จะหาได้ (บางยี่ห้อ PRP tube มี gel กั้นแยกชั้นเม็ดเลือดกับน้ำเลือดออกจากกันหลังจากปั่นได้ด้วย ดังภาพ (PRP tube with ACD + gel)
  • หลุมที่วางหลอด
  • เครื่องปั่นหมุนเหวี่ยง (centrifuge machine)
  • หลอดเก็บเลือด sterile ขนาด 6.5 ml
  • เข็มยาว spinal needle 22G หรือ เข็มอะไรก็ได้ที่ยาวกว่า 5 ซม.
  • เข็มฉีดยาขนาด 25G ยาว 1.5 นิ้ว
  • Syringe ขนาด 5ml 
  • ยาชา Lidocaine with adrenaline
  • เครื่องอัลตร้าซาวด์ เจล
  • พลาสเตอร์ยา
  • cool pack หรือถุงน้ำแข็ง

การเจาะเลือด:

  • เจาะเลือดใส่หลอด ACD-A ขนาด 10 ml 4 หลอด หรือขนาด 8.5 ml  6 หลอด เขย่าน้ำยาให้เข้ากับเลือด วางพักบนถาดตั้งหลอด

การปั่นเลือด

  1. กรณีหลอด ACD-A ที่ไม่มีเจลกั้น ให้ปั่นรอบแรกด้วยความเร็ว 3200 รอบต่อนาที นาน 15 นาที ก็เสร็จ
  2. กรณีหลอด ACD-A ที่มีเจลกั้น ให้ปั่นรอบแรกด้วยความเร็ว 3200 รอบต่อนาที เสร็จแล้ว  เทน้ำเลือดสีเหลืองจากหลอด ACD-A ลงในหลอดเก็บเลือดขนาด 6.5ml ทั้งสี่หรือหกหลอด นำไปปั่นที่ความเร็ว 3200 รอบต่อนาที เป็นเวลา 5 นาที
การเก็บเกล็ดเลือด:

  • ใช้เข็มยาวดูดชั้นเกล็ดเลือดเข้มข้นออกมา
การฉีดเกล็ดเลือด:
  • ทายาชาที่ผิวหนังบริเวณที่ฉีดก่อนฉีด 30 นาที
  • ใช้อัลตร้าซาวด์นำทาง
  • ทำความสะอาดผิว
  • ฉีดยาชา
  • ฉีดเกล็ดเลือดเข้มข้นเข้าข้อเข่า
  • ประคบเย็นครึ่งชั่วโมง